คำอธิบายรายวิชา



คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระ  ศิลปะ                                                                                                สาระการเรียนรู้  พื้นฐาน
รายวิชา  ดนตรี   นาฏศิลป์  ทัศนศิลป์                                                           ชั้นประถมศึกษาปีที่  1
จำนวนเวลา  2  ชั่วโมง/สัปดาห์                                                                       จำนวน  80  ชั่วโมง/ปี

ดนตรี
                รู้แหล่งกำเนิดของเสียงธรรมชาติ  เสียงมนุษย์  และเสียงดนตรี  ขับร้องและเคาะจังหวะ  การอ่านภาษา-ดนตรี  รู้ลักษณะทางโครงสร้างของเครื่องดนตรี  แสดงออกถึงการรับรู้เรื่องเสียง  การสร้างสรรค์ทางดนตรี  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงที่ได้ยิน  รู้ความเป็นมา  วิวัฒนาการ   สนใจ  และเห็นคุณค่าดนตรีพื้นบ้าน  ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม  ภูมิปัญญาไทย
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้พื้นฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย  โดยมีการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5  ด้าน

นาฏศิลป์
เคลื่อนไหวตามจินตนาการอย่างอิสระ  การเคลื่อนไหวตามจินตนาการอย่างมีรูปแบบด้วยท่าทางลีลาความงาม  การรับรู้จังหวะ  การใช้เสียง  บทบาทสมมติและภาษาในการแสดงออก  การใช้ภาษาท่าทางนาฏยศัพท์  การแสดงนาฏศิลป์  ประเภทรำ  ระบำ  ฟ้อน  เบื้องต้น  การเป็นผู้ชมก็ดี  และแสดงออกท่าความคิด  ความรู้สึก  เกิดความรัก  ชื่นชม  รับรู้  นาฏศิลป์อันเป็นมรดกไทย

ทัศนศิลป์
ศึกษา  สังเกต  เปรียบเทียบ  ปฏิบัติ  สร้างสรรค์ศิลปะ  วัฒนธรรม  ประเพณี  ภูมิปํญญาท้องถิ่น  สื่อความคิด  และถ่ายทอดความงามของงานทัศนศิลป์  วิธีการใช้และการเก็บรักษาอุปกรณ์อย่างถูกต้องและปลอดภัย  บรรยายความรู้สึก  และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์  นำความรู้ด้านทัศนศิลป์มาประยุกต์ใช้กับสาระอื่น  และในชีวิตประจำวัน  ทำงายร่วมกับผู้อื่นด้วยความสนุกสนาน เพลิดเพลิน  และมีความสุข


โครงสร้างรายวิชาศิลปะพื้นฐาน

ศ 21101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนและความสมดุล อ่าน เขียน ขับร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล วิธีการขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรีที่บรรเลง ประเภทดนตรีและเพลง วิธีการใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ อิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร รูปแบบการแสดง แสดงนาฏศิลป์และละครแบบง่าย
ปฏิบัติการวาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกล ใกล้เป็น 3 มิติ รวบรวมงานปั้น
สื่อหรือสื่อผสมมาสร้าง เป็นเรื่องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน นำเสนอความคิดและข้อมูล ขับร้องเพลง แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง – เบา แตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึก ในการฟังดนตรีแต่ละประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบและอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้นน่าชื่นชม ใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม ในกระบวนการ-ผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กำหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่าและการเคลื่อนไหว มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม.1/1 , ม1/2 , ม.1/3 , ม.1/4
ศ 2.1 ม.1/1 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7 , ม.1/8 , ม.1/9
ศ 3.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5
รวม 16 ตัวชี้วัด


ศ 21102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่นตนเอง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล บทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย จัดประเภทของวงดนตรีและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
ความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทยและละครพื้นบ้าน ประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย
ปฏิบัติการออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอื่นๆ บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ ประเมินงานทัศนศิลป์และวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อื่น โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดให้ นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบและอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้นน่าชื่นชม ใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กำหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่าและการเคลื่อนไหว
มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม.1/5 , ม.1/6 ศ 1.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3
ศ 2.1 ม.1/4 ศ 2.2 ม.1/1 , ม.1/2
ศ 3.2 ม.1/1 , ม.1/2
รวม 10 ตัวชี้วัด





ศ 22101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่เลือก ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน วิธีการใช้งานทัศนศิลป์ ในการโฆษณา เพื่อโน้มน้าวใจและนำเสนอตัวอย่างประกอบ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี งานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง การบูรณาการศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร หลักและวิธีการวิเคราะห์การแสดง
ปฏิบัติการวาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย ในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ
สร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา ร้อง-และบรรเลงเพลง บรรยายอารมณ์ของบทเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ประเมิน พัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเองหลังจากการฝึกปฏิบัติ เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4 , ม.2/5
ศ 2.1 ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4 , ม.2/5 , ม,2/6 ,
ม.2/7 ศ 3.1 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4 , ม.2/5
รวม 16 ตัวชี้วัด




ศ 22102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย โดยเน้นถึงแนวคิดและเนื้อหาของงาน เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรมไทยและสากล องค์ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน บทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดง นาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาละคร
ปฏิบัติการวาดภาพแสดงบุคลิก ลักษณะของตัวละคร สร้างเกณฑ์ในการประเมินและ
วิจารณ์งานทัศนศิลป์ นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง บรรยายอารมณ์ของบทเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ประเมิน พัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกันในอดีต มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.2 ม.2/4 , ม.2/6 ศ 1.2 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3
ศ 2.1 ม.2/1 , ม.2/4 , ม.2/5 ศ 2.2 ม.2/1 , ม.2/2
ศ 3.2 ม.2/1 , ม.2/2
รวม 12 ตัวชี้วัด





ศ 23101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือก โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ เทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น หรือของศิลปิน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์และทักษะที่จำเป็น ในการประกอบอาชีพนั้น เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้น อย่างเหมาะสมและนำไปจัดนิทรรศการ เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น ๆ อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้ องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม โครงสร้างของบทละคร เปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คน ในชีวิตประจำวันและในการแสดง
ปฏิบัติการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท แต่งเพลงสั้นในอัตราจังหวะสองสี่
และสี่สี่ ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออกและคุณภาพเสียง ใช้ศัพท์ทางการละคร นาฏยศัพท์ที่เหมาะสม มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ ที่มีความแตกต่างกัน โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ร่วมจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 , ม.3/6 , ม.3/10 , ม.3/11
ศ 2.1 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 , ม.3/4 , ม.3/6
ศ 3.1 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 , ม.3/4 , ม.3/5 , ม.3/6 , ม.3/7
รวม 18 ตัวชีวัด
ศ 23102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล วิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย อภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานเดนตรีนั้นได้รับการยอมรับ ออกแบบและสร้างอุปกรณ์และเครื่องแต่งกายเพื่อแสดงนาฏศิลป์และละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละคร ในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์
ปฏิบัติการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบ
สร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย เปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง นำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ ใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ร่วมจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดง ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม.3/5 , ม.3/6 , ม.3/7 , ม.39 ศ 1.2 ม.3/1 , ม.3/2
ศ 2.1 ม.3/5 , 3/7 ศ 2.2 ม.3/1 ม. 3/2 ศ 3.1 ม.3/5 , ม.3/6 , ม.3/7
ศ 3.2 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3
รวม 16 ตัวชี้วัด



ศ 31101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่าง ๆ ศัพท์ทางทัศนศิลป์ การจัดวงดนตรีและการจำแนกประเภทวงดนตรีไทยและสากล รูปแบบของงการแสดงและวิธีการสร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบต่าง ๆ
ปฏิบัติการแสดงละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม. 4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2
ศ 2.1 ม. 4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2
ศ 3.1 ม.4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2
รวม 6 ตัวชี้วัด











ศ 31102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น และ 3 ชั้น หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์นาฏศิลป์และหลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร
ปฏิบัติทักษะและเทคนิคการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์ เขียนและอ่านโน้ตไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้นและ 3 ชั้น ประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่และหมู่ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม. 4 – 6 / 3 , ม.4 – 6 / 4
ศ 2.1 ม. 4 – 6 / 3 , ม.4 – 6 / 4
ศ 3.1 ม.4 – 6 / 3 , ม.4 – 6 / 4
รวม 6 ตัวชี้วัด









ศ 32101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี หลักการออกแบบ
งานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ วิธีการขับร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินผลงานดนตรี ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์และการละครและเทคนิคการแสดง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
ปฏิบัติการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ขับร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม. 4 – 6 / 5 , ม.4 – 6 / 6
ศ 2.1 ม. 4 – 6 / 5 , ม.4 – 6 / 6 , ม.4 – 6 / 7
ศ 3.1 ม.4 – 6 / 5 , ม.4 – 6 / 6
รวม 7 ตัวชี้วัด







ศ 32102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีการวิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปิน ในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ วิธีการนำดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอื่น ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง
ปฏิบัติการประเมินและวิจารณ์ทัศนศิลป์ จัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์ เปรียบเทียบ
อารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง จัดชุดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรียน พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมิน ในการประเมินการแสดง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม. 4 – 6 / 7 , ม.4 – 6 / 8 , ม4 – 6 / 9
ศ 2.1 ม. 4 – 6 / 5 , ม.4 – 6 / 8
ศ 3.1 ม.4 – 6 / 7 , ม.4 – 6 / 8
รวม 7 ตัวชี้วัด








ศ 32101 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล จากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ วาดภาพระบายสีเป็นภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปัจจุบัน รูปแบบของดนตรีไทยและดนตรีสากล ในยุคสมัยต่าง ๆ ประวัติสังตีตกวี การแสดงในโอกาสต่าง ๆ ชีวประวัติบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในยุคสมัยต่าง ๆ
ปฏิบัติการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ วาดภาพระบายสีเป็นภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปัจจุบัน มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.1 ม. 4 – 6 / 10 , ม.4 – 6 / 11
ศ 2.2 ม. 4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2
ศ 3.2 ม.4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2
รวม 6 ตัวชี้วัด








ศ 33102 ศิลปะพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีการวิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ บทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม นำเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ปฏิบัติการอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์
ในสังคม นำเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ นำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ศ 1.2 ม. 4 – 6 / 1 , ม.4 – 6 / 2 , ม.4 – 6 / 3
ศ 2.2 ม. 4 – 6 / 3 , ม.4 – 6 / 4 , ม.4 – 6 / 5
ศ 3.2 ม.4 – 6 / 3 , ม.4 – 6 / 4
รวม 8 ตัวชี้วัด









แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
ศ 1.1 ม.1/1 ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุ
ในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม
2
5
2 การออกแบบตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ศ 1.1 ม.1/2 ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล 2 10
3 หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ ศ 1.1 ม.1/3 หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ 4 10

4 เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปั้นหรืองานสื่อผสม
ศ 1.1 ม.1/4 เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปั้นหรืองานสื่อผสม
4
10



5



ภาษาดนตรี


ศ 2.1 ม.1/1 1. การเขียนตัวโน้ตไทยและ
โน้ตสากล
2 .การอ่านตัวโน้ตไทยและ
โน้ตสากล
3. การขับร้องโน้ตไทยและ
โน้ตสากล
4. ความหมายของเครื่องหมาย
และสัญลักษณ์ทางดนตรี
ไทย และดนตรีสากล


4


10
6 วิธีการดูแลรักษา ศ 2.1 ม.1/9 การใช้และบำรุงรักษา
เครื่องดนตรี 2 10




โครงสร้างรายวิชา ศ 21101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน


7

หรรษาประโคมเพลง
ศ 2.1 ม.1/.2 ,
ม.1/3 ,
ม.1/5 ,
ม.1/7 1. ขับร้องเพลง
2. บรรเลงเครื่องดนตรี
โดยเน้นในเรื่องของ
จังหวะ ความดัง – เบา
และอารมณ์ ของบทเพลง
3. ประเภทของบทเพลง

6

15

8
ประวัติของผู้แสดง
ศ 3.1 ม.1/1 1. ประวัตินักแสดงที่ตน
ชื่นชอบ
2. การพัฒนารูปแบบของ
การแสดง
2
10

9
นาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.1/2 1. ความหมายของนาฏศัพท์
2. ภาษาท่าและการตีบท
3. รำวงมาตรฐาน
6
10

10
การแสดงนาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.1/3 รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
- นาฏศิลป์
- นาฏศิลป์พื้นบ้าน
- นาฏศิลป์พื้นเมือง
3
5

11
การสร้างสรรค์การผลิตการแสดง
ศ 3.1 ม.1/4 1. บทบาทและหน้าที่ของ
ฝ่ายต่าง ๆ
2. การสร้างสรรค์กิจกรรม
การแสดงที่สนใจ
2
5
รวม 40 100





แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.1/5 การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรืองานกราฟิก 3 5
2 การประเมินงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.1/6 การประเมินงานทัศนศิลป์ 2 5

3 ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น ศ 1.2 ม.1/1 ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น 2 5
4 ลักษณะของงานศิลปะ
แต่ละภาค ศ 1.2 ม.1/2 งานทัศนศิลป์ภาคต่าง ๆ
ในประเทศไทย 3 10

5 ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ไทยและสากล
ศ 1.2 ม.1/3 ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทยและสากล
2
10

6
สรีระรวมวง
ศ 2.1 ม.1/4 1. ประเภทของวงดนตรีไทย
2. ประเภทวงดนตรีสากล
3. ประเภทวงดนตรีพื้นเมือง
4
10

7
รูปทรงดนตรี
ศ 2.2 ม.1/1
ม.1/2 1. บทบาทและอิทธิพลของ
ดนตรี
2. องค์ประกอบของดนตรี
ในแต่ละวัฒนธรรม
2
10
8 ลีลาวจีเอื้อนเอ่ย ศ 2.1 ม.1/ 7 ,
ม.1/8 ปฏิบัติการขับร้องเพลง 6 15
9 การแสดงนาฏศิลป์
แบบต่าง ๆ ศ 3.1 ม.1/5 หลักในการชมการแสดง 3 10
10 อิทธิพลที่มีต่อการแสดง ศ 3.2 ม.1/1 1. นาฏศิลป์พื้นบ้าน
2. ละครไทย 6 10
11 ละครไทย ศ 3.2 ม.1/2 ประเภทของละครไทย
ในแต่ละยุคสมัย 4 10
รวม 40 100
แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 22101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/1 รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ 2 5

2 ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน
ศ 1.1 ม.2/2 ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน 2 10
3 เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย ศ 1.1 ม.2/3 เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย 3 10
4 การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/4 การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ 2 5

5 การพัฒนางานทัศนศิลป์
การจัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/5 1. การพัฒนางานทัศนศิลป์
2. การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
ทัศนศิลป์
3
5

6
ประเมินอารมณ์ ศ 2.1 ม.2/5 ,
ม.2/6 1. อารมณ์และความรู้สึกใน
บทเพลง
2. การประเมินความสามารถ
ทางดนตรี
2
10

7
ชมการเปลี่ยนเสียง
ศ 2.1 ม.2/2 1. โน้ตเพลงไทยอัตรา
จังหวะ 2 ชั้น
2. เครื่องหมายแปลงเสียง
โน้ตสากล
3
10
8 เรียบเรียงลีลา ศ. 2.1 ม.2/ 3 ,
ม.2/4 เทคนิคการขับร้องเพลง 6 10
9 อาชีพที่เกี่ยวข้อง ศ 2.1 ม 2/7 งานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรี 1 5

โครงสร้างรายวิชา ศ 22101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน


10

การแสดงละคร

ศ 3.1 ม.2/1 1. ศิลปะแขนงอื่น ๆกับ
การแสดง
2. แสง สี ฉาก
3. เครื่องแต่งกาย
4. อุปกรณ์

3

10

11
ละครไทย
ศ 3.1 ม.2/2 หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้ องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร
3
5
12 ละครสร้างสรรค์ ศ 3.1 ม.2/3 หลักและวิธีการวิเคราะห์
การแสดง 2 5

13
วิเคราะห์นาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.2/4 1. วิเคราะห์การแสดง
นาฏศิลป์และการละคร
2. รำวงมาตรฐาน
4
10
รวม 40 100













แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 22102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร ศ 1.1 ม.2/6 การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร 3 10
2 งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา ศ 1.1 ม.2/7 งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา 2 5
3 วัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน ศ 1.2 ม.2/1 วัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน 2 5
4 งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย ศ 1.2 ม.2/2 งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 3 10
5 การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล ศ 1.2 ม.2/3 การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล 2 5


6

เทคนิคการบรรเลง
เครื่องดนตรี

ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1 1. องค์ประกอบของดนตรี
จาก แหล่งวัฒนธรรม
ต่าง ๆ
2. บทบาทและอิทธิพลของ
ดนตรีในวัฒนธรรมของ
ประเทศต่าง ๆ

3

10

7
นำพาการเปลี่ยนแปลง
ศ 2.2 ม.2/2 อิทธิพลของวัฒนธรรมและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย
2
10
8 แสดงออกทางเสียง ศ. 2.1 ม.2/ 3 ,
ม.2/4 เทคนิคการบรรเลง
เครื่องดนตรี 7 15




โครงสร้างรายวิชา ศ 22102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

9
นาฏศิลป์กับการแสดง
ศ 3.1 ม.2/5 ความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์หรือการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
2
5

10
การแสดงพื้นเมือง
ภาคต่าง ๆ
ศ 3.2 ม.2/1 1. นาฏศิลป์พื้นเมือง
2. ความหมาย
3. ที่มา วัฒนธรรม
ลักษณะเฉพาะ
5
10
11 การแสดงนาฏศิลป์
ประเภทต่าง ๆ
ศ 3.2 ม.2/2 1. นาฏศิลป์พื้นเมือง
2. ละครไทย
3. ละครพื้นบ้าน
3
5
12 การแสดงละครสั้น ศ 3.2 ม.2/3 การละครสมัยต่าง ๆ 3 5
รวม 40 100















แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1 ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.3/1 ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
1
5
2 เทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/2 เทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ 2 5

3 วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.3/3 วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
2
5
4 การสร้างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล ศ 1.1 ม.3/4 การสร้างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล 2 5
5 การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม ศ 1.1 ม.3/5 การใช้หลักการออกแบบ
ในการสร้างงานสื่อผสม 3 5

6 การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ
ศ 1.1 ม.3/6 การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ
2
5

7 การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
สร้างงานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.3/7 การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์
1
5


8

อิทธิพลเหลือล้ำ

ศ 2.1 ม.3/1 ,
ม.3/4 ,
ม.3/5 ,
ม.3//6 1. การเลือกใช้องค์ประกอบ
ในการสร้างสรรค์งาน
ดนตรี
2. การเปรียบเทียบความ
แตกต่างของดนตรีและ
ศิลปะอื่น

3

10

โครงสร้างรายวิชา ศ 23101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
3. อิทธิพลของดนตรีต่อ
บุคคลและสังคม


9 นำมาแต่งเพลง ศ 2.1 ม.3/3 ปฏิบัติการแต่งงเพลงในอัตราจังหวะ สองสี่ และ สี่สี่ 4 10
10 บรรเลงเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.3/2 การขับร้องและบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง 5 15


11

การออกแบบนาฏศิลป์

ศ 3.1 ม.3/1 1. องค์ประกอบของบทละคร
2. โครงเรื่อง
3. ตัวละครและการวาง
ลักษณะนิสัยของตัวละคร
4. ออกแบบและสร้างสรรค์
อุปกรณ์และเครื่องแต่งกาย
เพื่อการแสดงนาฏศิลป์

4

10

12
ภาษาท่า
ศ 3.1 ม.3/2
ศ 3.2 ม.3/2 1. ความหมายของภาษาท่า
2. ภาษาท่าเบื้องต้น
3. รำวงมาตรฐาน
4. บทบาทของนาฏศิลป์
4
10

13
ลีลานาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.3/3
ศ 3.2 ม.3/3 1. รูปแบบการแสดง
2. การแสดงเป็นหมู่
3. การแสดงเดี่ยว
4. การแสดงละคร
5. การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
6. การอนุรักษ์นาฏศิลป์
5
10
รวม 40 100



แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา และคุณค่า ในงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/8 การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา และคุณค่า ในงานทัศนศิลป์ 2 5

2 การใช้เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย สร้างงานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมาย
ศ 1.1 ม.3/9 การใช้เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย สร้างงานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมาย
2
10
3 การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/10 การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ 2 5
4 การจัดนิทรรศการการจัดนิทรรศการ ศ 1.1 ม.3/11 การจัดนิทรรศการ 2 5
5 งานทัศนศิลป์กับการสะท้อนคุณค่า ของวัฒนธรรม ศ 1.2 ม.3/1 งานทัศนศิลป์กับการสะท้อนคุณค่า ของวัฒนธรรม 2 5

6 ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล
ศ 1.2 ม.3/2 ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล
2
5

7
วิวัฒนาการวงดนตรี
ศ 2.2 ม.3/1 1. ประวัตติดนตรีไทยยุคสมัย
ต่าง ๆ
2. ประวัติดนตรีสากลยุคสมัย
ต่าง ๆ
4
10
8 ดนตรีเป็นที่ยอมรับ ศ 2.2 ม.3/2 ปัจจัยที่ทำให้งานคนตรีได้รับการยอมรับ 2 10
9 พร้อมรับการแสดง ศ 2.1 ม.3/7 จัดงานแสดงดนตรี 6 15




โครงสร้างรายวิชา ศ 23102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน


10

นาฏศิลป์ไทย

ศ 3.1 ม.3/4 การประดิษฐ์ท่ารำและท่าทางประกอบการแสดง
- การแสดง
- ความเป็นมา
- ท่าทางที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำ

6

10

11
การแสดงออกทางนาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.3/5 1. องค์ประกอบนาฏศิลป์
2. จังหวะทำนอง
3. การเคลื่อนไหว
4. ภาษาท่า การแต่งกาย
อามรณ์ความรู้สึก
2
5


12

ประเภทงานแสดง

ศ 3.1 ม.3/6
ศ 3.2 ม.3/1 1. วิธีการเลือกการแสดง
2. ประเภทของงาน
3. ขั้นตอน
4. ประโยชน์และคุณค่าของ
การแสดง
5. การออกแบบเครื่องแต่งกาย

2

5
13 ละครพูด ศ 3.1 ม.3/7 ละครกับชีวิต 3 10
รวม 40 100








แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.4-6/1 ทัศนธาตุและหลัก
การออกแบบ 2 10
2 ศัพท์ทางทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.4-6/2 ศัพท์ทางทัศนศิลป์ 2 10

3 วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปิน ในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.4-6/3 วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปิน ในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
2
15

4
รูปร่างเครื่องดนตรี
ศ 2.1 ม.4-6/1 1. ประเภทเครื่องดนตรีไทย
และสากล
2. บทเพลงที่บรรเลงโดย
วงดนตรีประเภทต่าง ๆ
3
15
5 สรีระรวมวง ศ 2.1 ม.4-6/2 1. ประเภทวงดนตรีไทย
2. ประเภทวงดนตรีสากล 3 20

6
นาฏศิลป์ไทย
ศ 3.1 ม.4-6/1
ศ 3.2 ม.4-6/1
1. รูปแบบการแสดง
2. ระบำ รำ ฟ้อน
3. การแสดงนาฏศิลป์ใน
โอกาสต่างๆ
3
15


7

ลีลานาฏศิลป์ไทย
ศ 3.1 ม.4-6/8
ศ 3.2 ม.4-6/1
1. การสร้างผลงาน
- การจัดการแสดงใน
วันสำคัญของโรงเรียน
2. การแสดงนาฏศิลป์ใน
โอกาสต่าง ๆ

4

15
รวม 20 100




แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1 เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการสร้างงานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.4-6/4 เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการสร้างงานทัศนศิลป์
3
15

2 หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี
ศ 1.1 ม.4-6/5 หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี
3
20

3
ปัจจัยในการสร้างสรรค์
ศ 2.1 ม.4-6/3 ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
2
10


4

รวมกันเรียนภาษาดนตรี

ศ 2.1 ม.4-6/4 1. เครื่องหมายกำหนดจังหวะ
2. กุญแจประจำหลักและ
บันไดเสียง
3. เขียนและอ่านโน้ตไทย
อัตราจังหวะ 2 ชั้นและ
3 ชั้น

4

15

5
หลักการสร้างสรรค์และ
ชมการแสดง
ศ 3.1 ม.4-6/4
1. หลักการสร้างสรรค์และ
การวิจารณ์
2. หลักการชมการแสดง
นาฏศิลป์และละคร
4
15

6 บุคคลสำคัญในวงการ
นาฏศิลป์
ศ 3.2 ม.4-6/1 บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในยุคสมัยต่าง ๆ
3
15
รวม 20 100



แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 การออกแบบงานทัศนศิลป์เชิงพานิช ศ 1.1 ม.4-6/6 การออกแบบงานทัศนศิลป์เชิงพานิช 2 15
2 หลักการวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.4-6/7 หลักการวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ 2 10
3 หลักการประเมินและการวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.4-6/8 หลักการประเมินและการวิจารณ์งานทัศนศิลป์ 2 10

4
ประเมินคุณภาพดนตรี
ศ 2.1 ม.4-6/6 การสร้างเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณภาพการ
ประพันธ์เพลงและการเล่น
ดนตรีของตนเองและผู้อื่น
1
10
5 โชว์ลีลาเดี่ยว ศ 2.1 ม.4-6/5
ม.4-6/7 ปฏิบัติการขับร้องและเล่นดนตรีเดี่ยว 5 25


6

ตามรอยนาฏศิลป์

ศ 3.1 ม.4-6/5
ศ 3.2 ม.4-6/3 1. ประวัติความเป็นมาของ
นาฏศิลป์และการละครไทย
2. วิวัฒนาการของละครไทย
3. ความงามและคุณค่า
4. วัฒนาการของนาฏศิลป์
และการละครไทยตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน

7

30
รวม 20 100






แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 การจัดแฟ้มสะสมงาน ศ 1.1 ม.4-6/9 การจัดแฟ้มสะสมงาน 3 15
2 หลักการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยสู่สากล ศ 1.1
ม.4-6 / 10 หลักการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทยสู่สากล 3 20
3 สารพันนำไปใช้ ศ 2.1 ม.4-6/8
การนำดนตรีไปประยุกต์ใช้กับงานอื่น 2 15
4 รวมใจเล่นเป็นวง ศ 2.1 ม.4-6/5
ม.4-6/7 ปฏิบัติการขับร้องหรือเล่นดนตรีรวมวง 4 20



5


ลีลานาฏศิลป์พื้นเมือง


ศ 3.1 ม.4-6/3
ศ 3.2 ม.4-6/4

1. การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่
และเป็นหมู่
2. ความหมาย
3. ประวัติความเป็นมา
4. ท่าทางที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำ
5 เพลงที่ใช้
6. การอนุรักษ์นาฏศิลป์
ภูมิปัญญาไทย


5


20

6
การแสดงผลงาน
ศ 3.1 ม.4-6/8
1. การสร้างสรรค์ผลงาน
2. การจัดการแสดงในวัน
สำคัญ
2
10
รวม 20 100






แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 33101 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 การวาดภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูน ศ 1.1
ม.4-6 / 11 การวาดภาพล้อเลียนหรือ
ภาพการ์ตูน 3 20
2 งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก ศ 1.2 ม.4-6/1 งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก 3 15


3

รูปแบบเพลงและวง
แต่ละสมัย

ศ 2.2 ม.4-6/1
1. รูปแบบบทเพลงและ
วงดนตรีไทยแต่ละยุค
สมัย
2. รูปแบบบทเพลงและ
วงดนตรีสากลแต่ละ
ยุคสมัย

3

20
4 คีตกวีไทยและสากล ศ 2.2 ม.4-6/2
ประวัติสังคีตกวีไทยและสากล 3 15

5
เทคนิคการแสดง
ศ 3.1 ม.4-6/6
1. เทคนิคการแสดง
2 แสง สี เสียง
3. ฉาก อุปกรณ์ เครื่องแต่งกาย
4. สถานที่
4
15

6
รูปแบบการแสดง
ศ 3.1 ม.4-6/7
การประเมินคุณภาพการแสดง
- คุณภาพด้านการแสดง
- คุณภาพองค์ประกอบ
การแสดง
3
15
รวม 20 100





แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 33102 ศิลปะพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง ศ 1.2 ม.4-6/2 งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง 3 15

2 อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ที่มีผลต่องานทัศนศิลป์
ศ 1.2 ม.4-6/3 อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ที่มีผลต่องานทัศนศิลป์
3
20
3 โดดเด่นแต่ละวัฒนธรรม ศ 2.2 ม.4-6/3
ลักษณะเด่นของดนตรี
ในแต่ละวัฒนธรรม 2 10
4 นามธรรมในสังคม ศ 2.2 ม.4-6/4
ความนิยมและความเชื่อของดนตรีในสังคม 2 10
5 ชื่นชมและอนุรักษ์ไว้ ศ 2.2 ม.4-6/5
แนวทางการอนุรักษ์และส่งเสริมดนตรีไทย 2 15

6
นาฏศิลป์ไทย - สากล
ศ 3.1 ม.4-6/1
รูปแบบการแสดง
- การละครสากล
- การละครไทย
2
10




7




ละครสร้างสรรค์



ศ 3.1 ม.4-6/2
ละครสร้างสรรค์
- ความเป็นมา
- องค์ประกอบของละคร
สร้างสรรค์
- ละครพูด
- ละครโศกนาฏกรรม
-ละครสุขนาฏกรรม
- ละครแนวเหมือนจริง
- ละครแนวไม่เหมือน
จริง



5



20
รวม 20 100

โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
กลุ่มสาระศิลปะ

วิชาพื้นฐาน
ศ21101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ21102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ23101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ23102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต

วิชาเพิ่ม
ภาคเรียนที่ 1
ศ21201 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ21203 ดนตรีพื้นเมือง(วงสะล้อ ซึง) 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22205 ดนตรีไทยปฏิบัติตามความถนัด 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22207 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต

ภาคเรียนที่ 2
ศ21202 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ21204 ดนตรีพื้นเมือง(วงสะล้อ ซึง) 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22206 ดนตรีไทยปฏิบัติตามความถนัด 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ22208 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต









โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มสาระศิลปะ

วิชาพื้นฐาน
ศ31101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศ31102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศ32101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศ32102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศ33101 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศ33102 ศิลปะพื้นฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต

วิชาเพิ่ม
ภาคเรียนที่ 1
ศ31201 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ31203 รีคอร์เดอร์ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ31205 ช่างเขียนตัวอักษร เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ32206 ช่างเขียนตัวการ์ตูน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ32207 ดนตรีสากล – ขับร้องสากล 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ32209 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 1
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต

ภาคเรียนที่ 2
ศ31202 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ31204 รีคอร์เดอร์ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ31204 รีคอร์เดอร์ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต
ศ32210 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 2
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต





ศ 21201 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของขลุ่ยเพียงออ ทฤษฎีดนตรีไทย ศัพท์สังคีต
ส่วนประกอบและการดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออ เทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ
ปฏิบัติการอ่านส่วนของตัวโน้ตไทย เทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ได้อย่างไพเราะ
ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายประวัติความเป็นมาของขลุ่ยเพียงออได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและเสียง ของขลุ่ยเพียงออได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน การเขียนโน้ตไทย ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีและอ่านโน้ตไทยในอัตรา
จังหวะ 2 ชั้นได้
4. อธิบายประวัตินักดนตรีไทยที่มีความสามารถในการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออได้อย่างน้อย 1 คน
5. อธิบายความหมายศัพท์สังคีตดนตรีไทยได้
6. สามารถฏิบัติเทคนิคการเป่าขลุ่ยเพียงออตามบทฝึกที่กำหนดให้ได้








ศ 21202 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2


คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ท่านั่งในการปฏิบัติ การใช้การดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออ
ประวัติความเป็นมาของบทเพลงที่นำมาบรรเลง
ปฏิบัติท่านั่ง การใช้และดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออ เทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ
สามารถปฏิบัติขลุ่ยเพียงออได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายวิธีการนั่งเป่าและจับขลุ่ยเพียงออได้
2. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออได้
3. ปฏิบัติเทคนิคพิเศษในการเป่าขลุ่ยเพียงออได้
4. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงและปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ตามบทเพลงที่มอบหมาย ได้
อย่างน้อย 1 เพลง









ศ 21203 ดนตรีพื้นเมือง (วงสะล้อ ซึง) 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ
ซึง ทฤษฎีดนตรีเรื่องการอ่านและเขียนโน้ตไทย ศัพท์สังคีต ชีวประวัตินักดนตรีพื้นบ้าน ส่วนประกอบเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีประกอบจังหวะในวงสะล้อซึง ได้แก่ ฉิ่ง ฉาบและ กลองโป่งโป้ง
ปฏิบัติการอ่านส่วนของตัวโน้ตไทย เทคนิคการปฏิบัติเครื่องตีประกอบจังหวะในวง
สะล้อ ซึง ได้แก่ ฉิ่ง ฉาบ และกลองโป่งโป้ง ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง
มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายวิวัฒนาการเครื่องดนตรีไทย แต่ละประเภทได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและเสียงของเครื่องดนตรีที่ใช้ในวง สะล้อ ซึง ได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน เขียนและความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีพร้อมทั้งปฏิบัติการอ่านโน้ตดนตรีไทย
อัตราจังหวะ 2 ชั้นได้
4. อธิบายชีวประวัติของคีตกวีผู้มีความสามารถในการบรรเลงเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในวงสะล้อ ซึง
ได้อย่างน้อย 2 คน
5. อธิบายความหมายคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการบรรเลงในวงสะล้อ ซึง ได้ อย่างน้อย 10 คำ
6. บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองโป่งโป้ง ฉาบและฉิ่ง ที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง ได้




ศ21204 ดนตรีพื้นเมือง (วงสะล้อ ซึง) 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีในวงสะล้อ ซึง เช่น สะล้อ ซึง ขลุ่ย ท่านั่ง
ในการปฏิบัติ การใช้การดูแลรักษาเครื่องดนตรี ประวัติความเป็นมาของบบทเพลงที่นำมาบรรเลง
ปฏิบัติท่านั่ง การใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรี เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีที่ใช้
ในวงสะล้อ ซึง เช่น สะล้อ ซึง ขลุ่ย ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายวิธีการนั่งและจับเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง ขณะบรรเลงได้
2. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึงได้
3. ปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึงได้
4. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงและบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีในวงสะล้อ ซึง ได้อย่างน้อย
1 เพลง









ศ21205 ดนตรีไทยปฏิบัติตามความถนัด 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะ และชื่อของเครื่องดนตรีไทย ทฤษฎีการ
เขียนและอ่านโน้ตไทย ศัพท์สังคีต ชีวประวัตินักดนตรีไทย เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย ประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง และ ฉาบ หน้าทับปรบไก่อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชัน และชั้นเดียว
ปฏิบัติ การอ่านส่วนของโน้ตไทย เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง และ ฉาบ หน้าทับปรบไก่อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้น และชั้นเดียว ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายวิวัฒนาการเครื่องดนตรีไทย แต่ละประเภทได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและชื่อของเครื่องดนตรีไทยได้อย่างน้อย 10 ชิ้น
3. อธิบายวิธีการอ่าน เขียนและความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีพร้อมทั้งปฏิบัติการอ่านโน้ตดนตรีไทย
อัตราจังหวะ 2 ชั้นได้
4. อธิบายชีวประวัติของคีตกวีผู้มีความสามารถในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยได้อย่างน้อย 2 คน
5. อธิบายความหมายคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยได้อย่างน้อย 10 คำ
6. บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองแขก ฉาบและฉิ่ง หน้าทับปรบไก่ 3 ชั้น 2 ชั้น
และชั้นเดียวได้




ศ 21206 ดนตรีไทยปฏิบัติตามความถนัด 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม
ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ซออู้ ซอด้วง ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ท่านั่งในการปฏิบัติเครื่องดนตรี การใช้การดูแลรักษาเครื่องดนตรี ประวัติความเป็นมาของบทเพลงที่บรรเลงและประเภทวงดนตรีไทย
ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ซออู้
ซอด้วง ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฯลฯ ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายลักษณะของวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆได้
2. อธิบายวิธีการนั่งและจับเครื่องดนตรีไทยที่ถนัดขณะบรรเลงได้
3. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยที่ถนัดได้
4. สามารถปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยที่ถนัดได้
5. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงและปฏิบัติเครื่องดนตรีตามบทเพลงที่มอบหมาย ได้
อย่างน้อย 1 เพลง







ศ 23207 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะ และชื่อของเครื่องดนตรีสากล ทฤษฎีการ
เขียนและอ่านโน้ตสากล ศัพท์สังคีต ชีวประวัติคีตกวีเอกของโลก เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล
ตามความถนัด
ปฏิบัติ การอ่านส่วนของโน้ตสากล เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลตามความถนัด
ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายการกำเนิดเครื่องดนตรีสากลประเภทต่าง ๆได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและชื่อเครื่องดนตรีสากลประเภทต่าง ๆได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน การเขียน ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลและอ่านโน้ตสากลในอัตรา
จังหวะ สองสี่และสี่สี่ได้
4. อธิบายประวัตินักดนตรีสากลเอกของโลกได้
5. อธิบายความหมายศัพท์สังคีตสากลได้
6. ปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลตามความถนัด ตามบทฝึกที่กำหนดให้ได้







ศ 23208 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล เช่น กีตาร์โซโล กีตาร์คอร์ด
เบสกีตาร์ กลองชุด และคีย์บอร์ด ท่าทางในการปฏิบัติเครื่องดนตรี การใช้การดูแลรักษาเครื่องดนตรี ประวัติความเป็นมาของบทเพลงที่บรรเลงและประเภทวงดนตรีสากล
ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย เช่น กีตาร์โซโล กีตาร์คอร์ด เบสกีตาร์ กลองชุด และ
คีย์บอร์ด ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายท่าทางในการนั่ง การยืนและวิธีการจับเครื่องดนตรีสากลที่ถนัดขณะบรรเลงได้
2. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีสากลที่ถนัดได้
3. สามารถปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลในบันไดเสียง C เมเจอร์ได้
4. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงและปฏิบัติเครื่องดนตรีตามบทเพลงที่มอบหมาย ได้
อย่างน้อย 1 เพลง







ศ 31201 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะ ส่วนประกอบของกีตาร์
ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น เทคนิคการปฏิบัติกีตาร์ในบันไดเสียง C เมเจอร์ การดูแลรักษากีตาร์
ปฏิบัติ การเขียนสัญลักษณ์ตัวโน้ตสากล อ่านส่วนของโน้ตดนตรีสากลในบันไดเสียง
C เมเจอร์ ในอัตราจังหวะ สองสี่ สามสี่ และ สี่สี่ บรรเลงบทเพลงตามที่ได้รับมอบหมายด้วยกีตาร์
มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายประวัติความเป็นมาของกีตาร์ได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและเสียงของกีตาร์ได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน การเขียน ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลและอ่านโน้ตสากลในอัตรา
จังหวะ สองสี่และสี่สี่ได้
4. อธิบายประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติกีตาร์ของโลกได้
5. อธิบายความหมายศัพท์สังคีตสากลได้
6. สามารถปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงกีตาร์ ในบันไดเสียง C เมเจอร์ได้








ศ 31202 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายแปลงเสียง ศัพท์สังคีตดนตรีสากล ชีวประวัติ
นักดนตรีสากล เทคนิคการปฏิบัติกีตาร์ ในบันไดเสียง G เมเจอร์และ F เมเจอร์
ปฏิบัติ การดีดกีตาร์ ในบันไดเสียง G เมเจอร์และ F เมเจอร์ ในอัตราจังหวะ สองสี่
สามสี่และสี่สี่ บรรเลงบทเพลงตามที่ได้รับมอบหมายด้วยกีตาร์ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายวิธีการนั่งและยืนปฏิบัติกีตาร์ได้
2. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษากีตาร์ได้
3. สามารถปฏิบัติเทคนิคการดีดกีตาร์ในบันไดเสียง G เมเจอร์และ F เมเจอร์พร้อมทั้งจับคอร์ดกีตาร์
เบื้องต้นได้
4. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงพร้อมทั้งปฏิบัติกีตาร์ ตามบทเพลงที่มอบหมาย ได้
อย่างน้อย 1 เพลง








ศ 31203 รีคอร์เดอร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะ ส่วนประกอบ ท่านั่ง ท่ายืนและ
วิธีการจับรีคอร์เดอร์ ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น ศัพท์สังคีต เทคนิคการปฏิบัติรีคอร์เดอร์ในบันไดเสียง C เมเจอร์ การดูแลรักษารีคอร์เดอร์
ปฏิบัติ การเขียนสัญลักษณ์ตัวโน้ตสากล อ่านส่วนของโน้ตดนตรีสากลในบันไดเสียง
C เมเจอร์ ในอัตราจังหวะ สองสี่ และ สี่สี่ บรรเลงบทเพลงตามที่ได้รับมอบหมายด้วยรีคอร์เดอร์
มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายประวัติความเป็นมาของรีคอร์เดอร์ได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและเสียง ของรีคอร์เดอร์ได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน การ เขียนและความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีได้
4. อธิบายท่านั่ง ท่ายืนและวิธีการจับรีคอร์เดอร์ขณะบรรเลงได้
5. อธิบาย ศัพท์สังคีตดนตรีสากลได้อย่างน้อย 10 คำ
6. สามารถปฏิบัติเทคนิคการเล่นรีคอร์เดอร์และบทเพลงในบันไดเสียง C เมเจอร์ ได้








ศ 31204 รีคอร์เดอร์ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายแปลงเสียง ชีวประวัตินักดนตรีสากล การดูแล
รักษารีคอร์เดอร์ เทคนิคการปฏิบัติรีคอร์เดอร์ 2 แนว ในบันไดเสียง G เมเจอร์และ F เมเจอร์ ประวัติบทเพลงที่บรรเลง
ปฏิบัติ การเป่ารีคอรร์เดอรร์ 2 แนว ในบันไดเสียง G เมเจอร์และ F เมเจอร์ ในอัตรา
จังหวะ สองสี่ และ สี่สี่ บรรเลงบทเพลงตามที่ได้รับมอบหมายด้วยรีคอร์เดอร์ มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติรีคอร์เดอร์ได้อย่างน้อย 1 คน
2. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษารีคอร์เดอร์ได้
3. สามารถปฏิบัติเทคนิคการเป่ารีคอร์เดอร์ในบันไดเสียง G เมเจอร์ แลละ F เมเจอร์ได้
4. สามารถปฏิบัติเทคนิคการเป่ารีคอร์เดอร์ 2 แนวได้
5. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงและปฏิบัติรีคอร์เดอร์ ตามบทเพลงที่มอบหมาย
ได้อย่างน้อย 2 เพลง








ศ 32205 ดนตรีสากล – ขับร้องสากล 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับดนตรีสากล วงดนตรี เครื่องดนตรี หลักการขับร้องเบื้องต้น
ฝึกขับร้องเพลงไทยสากลและเพลงสากล เพื่อให้สามารถขับร้องเพลงได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะ และบันเทิงอารมณ์
ปฏิบัติ การอ่านส่วนของโน้ตสากลที่ใช้สำหรับการขับร้องเพลง เทคนิคการขับร้องเพลง
ให้มีไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายการกำเนิดเครื่องดนตรีสากลประเภทต่าง ๆได้
2. อธิบายลักษณะของวงดนตรีสากลประเภทต่าง ๆได้
3. อธิบายหลักการขับร้องเพลงเบื้องต้นได้
4. สามารถปฏิบัติเทคนิคการขับร้องเพลงไทย/สากลให้เกิดความไพเราะได้










ศ 32206 ดนตรีสากล – ขับร้องสากล 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี อย่างน้อย 1 ชิ้น
โดยฝึกบรรเลงทั้งเดี่ยวและกลุ่ม และจัดแสดงดนตรีเป็นครั้งคราว การดูแลรักษาเครื่องดนตรี เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัดได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและเพลิดเพลิน
ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล เช่น กีตาร์โซโล กีตาร์คอร์ด เบสกีตาร์ กลองชุด และ
คีย์บอร์ด ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้นได้
2. อธิบายความหมายของศัพท์สังคีตสากลได้
3. สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลทั้งเดี่ยวและกลุ่ พร้อมทั้งบรรเลงเพลงตามที่กำหนดให้ไก้อย่างน้อย
1 เพลง
4. สามารถปฏิบัติเทคนิคการขับร้องเพลงไทย/สากล และขับร้องเพลงไทย/สากลให้เกิดความไพเราะ
ได้อย่างน้อย 1 เพลง







ศ 32208 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะ และชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ประเภทเครื่องตี ทฤษฎีการเขียนและอ่านโน้ตไทย ศัพท์สังคีต ชีวประวัตินักดนตรีไทย เทคนิคการปฏิบัติ
เครื่องดนตรีไทย ประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง และ ฉาบ หน้าทับสองไม้อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชัน และชั้นเดียว
ปฏิบัติ การอ่านส่วนของโน้ตไทยที่ใช้สำหรับเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี เทคนิค
การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง และ ฉาบ หน้าทับสองไม้อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้น และชั้นเดียว ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง
มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายการกำเนิดเครื่องดนตรีไทยประเภทต่าง ๆได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและชื่อเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีได้
3. อธิบายวิธีการอ่าน การเขียน ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยและอ่านโน้ตไทยที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติดรื่องดนตรีไทย ประเภทเครื่องตีได้
4. อธิบายประวัตินักดนตรีไทยที่มีความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ได้อย่างน้อย 2 คน
5. อธิบายความหมายของศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีได้
6. lสามารถปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะที่ใช้ในวงดนตรีไทย
หน้าทับสองไม้อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้นและชั้นเดียว



ศ 32208 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ วงดนตรีไทยที่มีเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี ร่วมบรรเลงอยู่ในวง
เทคนิคการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ซออู้ ซอด้วง ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ท่านั่ง วิธีการจับเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีในการปฏิบัติเครื่องดนตรี การใช้การดูแลรักษาเครื่องดนตรี ประวัติความเป็นมาของบทเพลงที่บรรเลง
ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ซออู้
ซอด้วง ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ฯลฯ ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย ได้อย่างไพเราะ ถูกทำนอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์
โดยคำนึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายลักษณะของวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆได้
2. อธิบายท่านั่ง และวิธีการจับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีขณะบรรเลงได้
3. อธิบายวิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีได้
4. สามารถปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีตามบทฝึกที่กำหนดให้ได้
5. อธิบายประวัติความเป็นมาของเพลงที่บรรเลงและปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ตามบทเพลงที่กำหนดให้ได้อย่างน้อย 1 เพลง






ศ 33........................ การเขียนตัวอักษร กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
......................................................................................

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาลักษณะ รูปแบบ ขนาดตัวอักษรและตัวเลขทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เทคนิคการเขียนตัวอักษร การออกแบบ การใช้เส้นและลวดลายประกอบ การย่อการขยาย วัสดุอุปกรณ์ในการเขียน การใช้ปากกา พู่กันกลม พู่กันแบน และเทคโนโลยีอื่นๆ ในการเขียนตัวอักษร การจัดกลุ่มตัวอักษร
ปฏิบัติงานฝึกทักษะออกแบบ เขียนตัวอักษร ตัวเลข ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศด้วยปากกาต่างๆ และหรือพู่กันกลม พู่กันแบน หรือเทคโนโลยีอื่นๆ เขียนลวดลายประกอบ จัดกลุ่มตัวอักษร บริการเขียนตัวอักษรทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สำรวจข้อมูลต่างตลาด ประเมินราคา และให้บริการ
เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และมีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะสมและเห็นคุณค่าของการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้ รายวิชา การเขียนตัวอักษร รหัสวิชา ศ................................

1. บอกหลักการเขียนตัวอักษรเบื้องต้นได้
2. บอกชื่อวัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนตัวอักษรได้
3. สามารถเขียนตัวอักษรชนิดต่างๆได้
4.สามารถออกแบบตัวอักษรได้เหมาะสมกับประเภทของงาน
5. สามารถใช้เทคโนโลยีในการเขียนตัวอักษรได้
6. สามารถประมาณราคาต้นทุน และกำหนดราคาค่าบริการได้ และบริการเขียนตัวอักษรได้







รหัสวิชา ศ…………… รายวิชา การเขียนภาพการ์ตูน
ศ 33........................ การเขียนภาพการ์ตูน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
......................................................................................


คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาหลักการ แสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน และวิธีการเขียนภาพการ์ตูน วัสดุอุปกรณ์ในการเขียนภาพการ์ตูน การใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง การจัดภาพ หลักการเขียนภาพการ์ตูน ประกอบเรื่อง
มีทักษะและมีความคิดริเริ่มแปลกใหม่ ในการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานเขียนภาพการ์ตูน ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน วิเคราะห์ผลดีผลเสีย และเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมกับงาน อภิปรายแนวทางเข้าสู่อาชีพการเขียนภาพการ์ตูน สำรวจข้อมูลการตลาด ประมาณราคาต้นทุนและราคาจำหน่ายได้ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และมีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะสมและเห็นคุณค่าของการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้ รายวิชา การเขียนภาพการ์ตูน ( ศ……….. )
1. บอกหลักการเขียนภาพการ์ตูนได้
2. บอกชื่อวัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนภาพการ์ตูนได้
3. สามารถเขียนภาพการ์ตูนตามจินตนาการได้
4.สามารถเขียนภาพการ์ตูนประกอบเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นได้
5. สามารถใช้เทคโนโลยีในการเขียนภาพการ์ตูนได้
6. สามารถประมาณราคาต้นทุน และกำหนดราคาค่าบริการได้ และบริการเขียนภาพการ์ตูน









แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21201 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 เล่าขานตำนานขลุ่ย ศ 2.2. ม.3/1 ประวัติความเป็นมาของ
ขลุ่ยเพียงออ 2 10
2 ตะลุยสรีระ สำเนียง ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและเสียง ของขลุ่ยเพียงออ 2 10

3
เรียบเรียงทฤษฎี ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน เขียนและความหมายสัญลักษณ์
ทางดนตรี
10
0

4
ฝีมือขลุ่ยเพียงออของไทย
ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ
4
10
5 ใครอยากรู้ต้องเรียน ศ 2.2 ม.2/2
ศ.2.1 ม3/1 ศัพท์สังคีตดนตรีไทย 2 10


6

หมั่นเพียรเข้าไว้
จะไพเราะเอง ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเป่า
ขลุ่ยเพียงออ

20

40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21202 การเป่าขลุ่ยเพียงออ 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2
วิธีการนั่งเป่าขลุ่ยเพียงออ
2
10
2 ชั่งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษา
ขลุ่ยเพียงออ 2 10


3

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเป่า
ขลุ่ยเพียงออ

20

40



4


เพลงสำหรับขลุ่ยเพียงออ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1
1. ปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ตามบทเพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


16



40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21203 ดนตรีพื้นเมือง (วงสะล้อ ซึง) 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 สืบสานตำนาน
เครื่องดนตรี ศ 2.2. ม.3/1 การกำเนิดเครื่องดนตรีพื้นเมืองประเภทต่าง ๆ 2 10

2 สรีระ สำเนียง สะล้อ ซึง ขลุ่ย ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและ
ชื่อเครื่องดนตรีที่ใช้ในวง
สะล้อ ซึง
4
20

3
ตะลุยภาษาดนตรี ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน เขียนและความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี
10
10

4 คีตกวีล้านนา ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีในวงสะล้อ ซึง
4
10
5 ภาษาเฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม3/1 ศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติเครื่องดนตรีในวงสะล้อ ซึง 2 10


6

เจาะเครื่องตีประกอบจังหวะ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะที่ใช้ในว
สะล้อ ซึง

14

40






แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 21204 ดนตรีพื้นเมือง (วงสะล้อ ซึง) 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2 วิธีการนั่งบรรเลงเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง
2
10
2 ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง 2 10


3

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ปฏิบัติเทคนิคการบรรเลง
เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซึง

22

40



4


เล่าประวัติพร้อมบรรเลง ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1
1. ปฏิบัติเครื่องดนตรีตามบท
เพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


10


40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 22205 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยตามความถนัด 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 สืบสานตำนานเครื่องดนตรี ศ 2.2. ม.3/1 การกำเนิดเครื่องดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ 2 10

2
สรีระ สำเนียง
เครื่องดนตรีไทย ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 ลักษณะ ส่วนประกอบและ
ชื่อเครื่องดนตรีไทย
ประเภทต่าง ๆ
4
20

3
ใส่ใจศึกษาภาษาดนตรี ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน การเขียนและความหมายสัญลักษณ์
ทางดนตรี
10
20

4 คีตกวีไทยผู้มีความสามารถ ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย
4
10
5 ฉลาดรู้ศัพท์เฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม3/1 ศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ 2 10


6

เจาะเครื่องตีประกอบจังหวะ ศ 2.1 ม1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะที่ใช้ในวงดนตรีไทย


14

30






แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 22205 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยตามความถนัด 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 รวมพลกันเป็นวงดนตรี ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะของวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ 4 20

2
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2
วิธีการนั่งและจับเครื่องดนตรีไทยที่ถนัดขณะบรรเลง
2
10
3 ชั่งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยที่ถนัด 2 10


4

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยที่ถนัด

22

30



5


เล่าประวัติพร้อมบรรเลง ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1

1. ปฏิบัติเครื่องดนตรีตาม
บทเพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


10


30





แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23207 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 เจาะตำนานเครื่องดนตรี ศ 2.2. ม.3/1 การกำเนิดเครื่องดนตรีสากลประเภทต่าง ๆ 2 10

2
สรีระ สำเนียงเป็นอย่างไร
ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและชื่อเครื่องดนตรีสากล
ประเภทต่าง ๆ
4
20

3
ใส่ใจศึกษาภาษาดนตรี ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน การเขียนและความหมายสัญลักษณ์
ทางดนตรี
10
20
4 คีตกวีเอกผู้มีความสามารถ ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีเอกของโลก 4 10
5 ฉลาดรู้ศัพท์เฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม.3/1 ศัพท์สังคีตสากล 2 10


6

เจาะเครื่องดนตรีที่ชื่นชอบ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีตามความถนัด

14

30








แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23207 ดนตรีสากลปฏิบัติตามความถนัด 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2
วิธีการนั่งและยืนบรรเลงเครื่องดนตรีสากลที่ถนัด
2
10
2 ชั่งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีสากลที่ถนัด 2 10


3

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลที่ถนัด

22

40


4

เล่าประวัติพร้อมบรรเลง ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1

1. ปฏิบัติเครื่องดนตรีตาม
บทเพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง

10

40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31201 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 เล่าขานตำนานกีตาร์ ศ 2.2. ม.3/1 ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ 2 10
2 หน้าตามันเป็นเช่นไร ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและเสียง ของกีตาร์ 2 10

3
ใครอยากรู้ก็ต้องเรียน ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน การเขียนและความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี
10
20

4
เซียนกีตาร์มือ 1
ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติกีตาร์ 4 10
5 ทึ่งกับภาษาเฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม3/1 ศัพท์สังคีตดนตรีสากล 2 10


6

จะเล่นให้เสนาะ
ต้องหมั่นฝึกฝน ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเล่นกีตาร์

20

40








แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31201 การปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้น 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2
วิธีการนั่งและยืนปฏิบัติกีตาร์
2
10
2 ชั่งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษากีตาร์ 2 10


3

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการจับคอร์ดกีตาร์เบื้องต้น

20

40



4


วัดกันที่ฝีมือ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1
1. ปฏิบัติกีตาร์ ตามบทเพลง
ที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


16


40








แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31203 รีคอร์เดอร์ 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 เล่าขานตำนานรีคอร์เดอร์ ศ 2.2 ม.3/1 ประวัติความเป็นมาของ
รีคอร์เดอร์ 2 10
2 พบเจอรูปร่างและเสียง ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและเสียง ของรีคอร์เดอร์ 2 10

3
ใครอยากรู้ก็ต้องเรียน ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน การเขียนและความหมายสัญลักษณ์
ทางดนตรี 10 20
4 ลีลาท่าทางในการปฏิบั ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 วิธีการนั่ง ท่ายืนและวิธีการจับรีคอร์เดอร์ 2 10
5 ภาษาเฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม.3/1 ศัพท์สังคีตดนตรีสากล 2 10


6

จะเล่นให้เสนาะ
ต้องหมั่นฝึกฝน ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1

ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเล่น
รีคอร์เดอร์และบทเพลง
ในบันไดเสียง C เมเจอร์

20

40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 31203 รีคอร์เดอร์ 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน

1
เซียนรีคอร์เดอร์มือ 1
ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติ
รีคอร์เดอร์ 4 10
2 ซึ้งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษา
รีคอร์เดอร์ 2 10


3

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5 1. ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเป่า
รีคอร์เดอร์ในบันไดเสียง
G เมเจอร์ และ F เมเจอร์
2. ฝึกปฏิบัติเทคนิคการเป่า
รีคอร์เดอร์ 2 แนว 20 40



4


วัดกันที่ฝีมือ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1
1. ปฏิบัติรีคอร์เดอร์ ตาม
บทเพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


14


40







แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23207 ดนตรีสากล – ขับร้องสากล 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 เจาะตำนานเครื่องดนตรีสากล ศ 2.2 ม.3/1 การกำเนิดเครื่องดนตรีสากลประเภทต่าง ๆ 4 20
2 รวมพลกันเป็นวงดนตรี ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะของวงดนตรีสากลประเภทต่าง ๆ 4 20
3 มีหลักในการขับร้อง ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 หลักการขับร้องเพลงเบื้องต้น 2 10


4
จะสร้างเสียงทองได้อย่างไร ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ฝึกปฏิบัติเทคนิคการขับร้องเพลงไทย/สากลให้เกิด
ความไพเราะ

30

50













แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 23207 ดนตรีสากล – ขับร้องสากล 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 ทฤษฎีดนตรีเป็นอย่างไร ศ 2.2 ม.3/1 ทฏษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น 4 20
2 ใครอยากรู้ก็ต้องเรียน ศ 2.1 ม.1/2 ศัพท์สังคีตสากล 2 10


3

อยากเป็นมือชั้นเซียน
ต้องหมั่นฝึก ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล
ทั้งเดี่ยวและกลุ่ม

14

30


4

รวมผนึกเป็นวงดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1

ปฏิบัติเทคนิคการขับร้องเพลงไทย/สากลให้เกิดความไพเราะ

20

40









แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32209 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 สืบสานตำนานเครื่องดนตรี ศ 2.2 ม.3/1 การกำเนิดเครื่องดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ 2 10

2 สรีระ สำเนียงเครื่อง
ดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะ ส่วนประกอบและชื่อเครื่องดนตรีไทย
ประเภทเครื่องตี
4
20

3
ใส่ใจศึกษาภาษาดนตรี
ศ 2.1 ม.1/1
ศ 2.1 ม.2/1 การอ่าน การ เขียนและความหมายสัญลักษณ์
ทางดนตรีไทย
ประเภทเครื่องตี
14
20

4 คีตกวีไทยผู้มีความสามารถ
ในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
ศ 2.1 ม.3/6 ประวัตินักดนตรีที่มีความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี
4
10

5
ฉลาดรู้ศัพท์เฉพาะ ศ 2.2 ม.2/2
ศ 2.1 ม.3/1 ศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติ
เครื่องดนตรีไทยประเภท
เครื่องตี
2
10


6

เจาะเครื่องตี
ประกอบจังหวะ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5 ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประกอบจังหวะที่ใช้ในวงดนตรีไทย หน้าทับสองไม้
อัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้นและชั้นเดียว

14

30



แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32209 การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 2 : ดนตรี )

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1 รวมพลกันเป็นวงดนตรี ศ 2.1 ม.1/2 ลักษณะของวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ 4 20

2
ลีลาท่าทางในการนั่ง ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/4
ศ 2.1 ม.3/2 วิธีการนั่ง และวิธีการจับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีขณะบรรเลง
2
10
3 ชั่งใจในการเก็บรักษา ศ 2.1 ม.1/9 วิธีใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี 2 10


4

สรรหาเทคนิคการปฏิบัติ ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ฝึกปฏิบัติเทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีไทย
ประเภทเครื่องตี

20

30



5


เล่าประวัติพร้อมบรรเลง ศ 2.1 ม.1/3 ,
ม.1/9
ศ 2.1 ม.2/4 ,
ม.2/6
ศ 2.1 ม.3/2 ,
ม.3/5
ศ 2.2. ม.3/1
1. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย
ประเภทเครื่องตี
ตามบทเพลงที่มอบหมาย
2. ประวัติความเป็นมาของ
เพลงที่บรรเลง


12


30





แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32......... การเขียนตัวอักษร
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 1 : ทัศนศิลป์ )

ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนักคะแนน
1 หลักและวิธีการเขียนตัวอักษร 1. บอกหลักการเขียนตัวอักษรเบื้องต้นได้
หลักและวิธีการเขียนตัวอักษร 6 10
2 วัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนตัวอักษร 2. บอกชื่อวัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนตัวอักษรได้
วัสดุปกรณ์ที่ใช้ในเขียนตัวอักษร 4 10
3 ปฏิบัติการเขียนเขียนตัวอักษร 3. สามารถเขียนตัวอักษร
เทคนิคและขั้นตอนการเขียนตัวอักษร 10 20
4
ปฏิบัติการเขียนตัวอักษรในเชิงพานิช
4.สามารถออกแบบตัวอักษรได้เหมาะสมกับประเภทของงาน
เทคนิคและขั้นตอน
การเขียนตัวอักษรในเชิงพานิช 8 20
5 การใช้เทคโนโลยีในการเขียนตัวอักษร 5. สามารถใช้เทคโนโลยีในการเขียนตัวอักษรได้
การใช้เทคโนโลยี
ในการเขียน
ตัวอักษร 8 20
6 การประมาณราคาต้นทุนและราคาจำหน่าย 6. สามารถประมาณราคาต้นทุน และกำหนดราคาค่าบริการได้ และบริการเขียนตัวอักษรได้

หลักการประมาณ
ราคาต้นทุนและ
ราคาจำหน่าย 4 20
รวม 40 100



แบบบันทึกการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ศ 32......... การเขียนภาพการ์ตูน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต
( สาระที่ 1 : ทัศนศิลป์ )


ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนักคะแนน
1 หลักการเขียนภาพการ์ตูน 1.บอกหลักการเขียนภาพ
การ์ตูนได้ หลักการเขียนภาพการ์ตูน 6 10
2 วัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนภาพการ์ตูนได้
2.บอกชื่อวัสดุขอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพการ์ตูน วัสดุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพการ์ตูน 4 10
3 ปฏิบัติการเขียนภาพการ์ตูน 3. สามารถเขียนภาพการ์ตูน
ตามจินตนาการได้
เทคนิคและขั้นตอนการเขียนภาพการ์ตูน 10 20
4
ปฏิบัติการเขียนภาพการ์ตูนประกอบเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นได้
4.สามารถเขียนภาพการ์ตูนประกอบเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นได้
เทคนิคแลขั้นตอน
การเขียนภาพการ์ตูนประกอบวัฒธรรมในท้องถิ่น 8 20
5 การใช้เทคโนโลยีในการเขียนภาพการ์ตูน 5.สามารถใช้เทคโนโลยีในการเขียนภาพการ์ตูนได้
การใช้เทคโนโลยี
ในการเขียนภาพ
การ์ตูน 8 20
6 การประมาณราคาต้นทุนและราคาจำหน่าย 6. สามารถประมาณราคาต้นทุน และกำหนดราคาค่าบริการได้ และบริการเขียนภาพการ์ตูน
หลักการประมาณ
ราคา 4 20
รวม 40 100